เมล็ดถั่วลันเตา

เมล็ดถั่วลันเตา

►เมล็ดถั่วลันเตา (Green Peas) เป็นพืชผักสมุนไพร เป็นไม้เถาเลื้อย มีอายุเพียงปีเดียว ผลเป็นฝัก มีลักษณะทรงแบนยาวรี โค้งงอเล็กน้อย ฝักหนาอวบ ฝักใหญ่ยาวเหนียวและแข็ง ฝักมีสีเขียวเข้ม ฝักจะนูนขึ้น มีเมล็ดโตเรียงกันอยู่ข้างใน เมล็ดไม่แก่หรืออ่อนเกินไป เมล็ดสีเขียว มีรสชาติหวานมัน มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา ต่อมาได้มีปลูกกันมาก ในเขตร้อนหลายประเทศทั่วโลก ในประเทศไทยมีปลูกหลายสายพันธุ์ มีประโยชน์และสรรพคุณ ทางยาหลายอย่าง ใช้เมล็ด นำมาประกอบอาหารเมนูต่างๆ ได้หลายเมนู

เมล็ดถั่วลันเตา

พืชผักสมุนไพร
เมล็ดถั่วลันเตา : Green Peas

เมล็ดถั่วลันเตา : Garden Pea
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Pisum sativum
อยู่ในวงศ์ : Fabaceae

เมล็ดถั่วลันเตา (Maled-Tua-Lan-Tow) เป็นพืชผักสมุนไพร เป็นเถาเลื้อย มีอายุเพียงปีเดียว ลำต้นมีลักษณะกลมๆ มีเถาสีเขียว เป็นใบประกอบ มีใบย่อยออกเป็นคู่สลับกัน มีสีเขียว ดอกเป็นดอกเดี่ยว มีลักษณะคล้ายผีเสื้อ กลีบดอกมีสองชั้น กลีบดอกมีสีม่วง ผลเป็นฝัก มีลักษณะทรงแบนยาวรี โค้งงอเล็กน้อย ฝักหนาอวบ ฝักใหญ่ยาวเหนียวและแข็ง ฝักมีสีเขียวเข้ม ฝักจะนูนขึ้น มีเมล็ดโตเรียงกันอยู่ข้างใน เมล็ดไม่แก่หรืออ่อนเกินไป เมล็ดสีเขียว มีรสชาติหวานมัน ใช้เมล็ด นำมาประกอบอาหารเมนูต่างๆ ได้หลายเมนู

ลำต้น เป็นไม้เถาเลื้อย มีอายุเพียงปีเดียวหรือฤดูเดียว มีลำต้นเดี่ยวเป็นหลัก ลำต้นมีลักษณะกลมๆ จะแตกกิ่งก้านตามข้อเป็นเถา มีเถาอ่อนเป็นเหลี่ยม บางพันธุ์มีมือเกาะ มีสีเขียว

ใบ เป็นใบประกอบ มีใบย่อยออกเป็นคู่สลับกัน ใบมีลักษณะทรงกลมรี โคนใบมน ปลายใบเรียว มีก้านใบย่อยสั้น มีมือเกาะออกที่ปลายใบ มีขนอ่อนๆ มีสีเขียว ใช้ยอดอ่อน นำมาประกอบอาหารเมนูต่างๆ ได้หลายเมนู

ราก มีระบบรากแก้ว มีลักษณะกลมเล็กๆ แทงลึกลงในดิน มีรากฝอยรากแขนงเล็กๆ มีสีน้ำตาล มีกลิ่นเฉพาะตัว

ดอก ดอกเป็นดอกเดี่ยว มีลักษณะคล้ายผีเสื้อ กลีบดอกมีสองชั้น กลีบดอกมีสีม่วง ก้านช่อดอกยาว ดอกออกตามซอกใบ

ผล มีผลเป็นฝัก มีลักษณะทรงแบนยาวรี โค้งงอเล็กน้อย ฝักหนาอวบ ฝักใหญ่ยาวเหนียวและแข็ง ฝักมีสีเขียวเข้ม ฝักจะนูนขึ้น มีเมล็ดโตเรียงกันอยู่ข้างใน เมล็ดไม่แก่หรืออ่อนเกินไป เมล็ดสีเขียว มีรสชาติหวานมัน ใช้เมล็ด นำมาประกอบอาหารเมนูต่างๆ ได้หลายเมนู

เมล็ด มีเมล็ดเรียงกันอยู่ ภายในฝัก จะมีประมาณ 4-9 เมล็ดต่อฝัก เมล็ดมีลักษณะทรงกลมเล็กๆ เมล็ดมีสีเขียว เมล็ดแก่จัดมีสีน้ำตาล

ประโยชน์และสรรพคุณเมล็ดถั่วลันเตา

มีวิตามินซี มีโฟเลต มีแมกนีเซียม มีแมงกานีส มีวิตามินเอ มีไทอามีน มีวิตามินบี1 มีวิตามินบี2 มีวิตามินบี3 มีวิตามินบี5 มีวิตามินบี6 มีวิตามินบี9 มีวิตามินบี12 มีไนอาซีน มีเหล็ก มีฟอสฟอรัส มีคาร์โบไฮเดรต มีไขมัน มีโปรตีน มีโพแทสเซียม มีเบตาแคโรทีน มีพลังงาน มีโซเดียม มีแคลเซียม

ช่วยบำรุงกระดูก ช่วยบำรุงฟัน ช่วยบำรุงเส้นเอ็น ช่วยบำรุงสมอง ช่วยเพิ่มน้ำนมในสตรีหลังคลอด ช่วยบำรุงไขมัน ช่วยป้องกันโรคหลงลืม ช่วยบำรุงผิวพรรณ ช่วยบำรุงสายตา ช่วยรักษาโรคเบาหวาน ช่วยลดคอเรสเตอรอลในเลือด ช่วยรักษาโรคความดันโลหิตสูง ช่วยรักษาโรคหัวใจ ช่วยละลายลิ่มเลือด ช่วยขับปัสสาวะ ช่วยถอนพิษ แก้อาการเหน็บชา แก้อาการตะคริว แก้ท้องผูก ช่วยบำรุงตับ ช่วยรักษาโรคตับพิการ ช่วยรักษาตับติดเชื้อ ช่วยยับยั้งโรคคอพอก ช่วยป้องกันโรคมะเร็งลำไส้

การปลูกและขยายพันธุ์ถั่วลันเตา

ถั่วลันเตาเป็นพืชที่เจริญได้ ในดินแทบทุกชนิด ดินร่วนปนดินเหนียวเจริญเติบโตได้ดี การปลูกโดยใช้เมล็ด ปลูกลงในแปลงดินที่เตรียมไว้ โดยนำเมล็ดพันธุ์ประมาณ 3-4 เมล็ด มาใส่ลงในลงหลุมปลูก พร้อมกลบดินให้แน่นพอประมาณ ให้มีระยะห่างกันประมาณ 30×30 เซนติเมตร เมื่อต้นกล้าโตขึ้น ให้ถอนกล้าที่ไม่สมบูรณ์ออก ให้เหลือแค่สองต้น เมื่อโตเริ่มทอดยอดหรือเลื้อย ให้ทำหลักเพื่อที่จะให้พันหรือเลื้อยขึ้นไปตามค้าง

วิธีดูแลรักษาถั่วลันเตา

ถั่วลันเตาป็นพืชที่ชอบน้ำ ต้องระบายน้ำดี น้ำไม่ขัง ชอบแสงแดด ต้องดูแลรดน้ำเสมอ และให้โดนแดดได้ตลอดวัน ต้องหมั่นรดน้ำเสมอ โดยรดน้ำเช้าเย็น จะทำให้โตได้เร็ว

การเก็บผลผลิตถั่วลันเตา

การเก็บผลผลผลิตถั่วลันเตา เมื่อมีอายุประมาณ 60-70 วัน หลังปลูกในแปลง ฝักมีขนาดโตพอดี ฝักมีสีเขียวเข้ม ฝักจะนูนขึ้น มีเมล็ดโตเรียงกันอยู่ข้างใน ใช้มือเด็ดมีขั้วติดมาด้วย แล้วนำมาใส่ในภาชนะที่เตรียมไว้

วิธีเก็บรักษาถั่วลันเตา

จะนำฝักถั่วลันเตา แล้วนำมาล้างน้ำให้สะอาด แล้วนำมาแกะเอาเมล็ดออก เราจะมีวิธีเก็บรักษาให้สดนานๆ คือให้ล้างน้ำให้สะอาดดี แล้วให้สะเด็ดน้ำออกให้หมด แล้วใส่ถุงหรือกล่องพลาสติก แล้วนำไปแช่ตู้เย็นช่องฟรีส จะเก็บไว้ได้นาน

เมล็ดถั่วลันเตา (Green Peas) ฝักมีทรงแบนยาวรี โค้งงอเล็กน้อย ฝักหนาอวบ ฝักใหญ่ยาวเหนียวและแข็ง สีเขียวเข้ม ฝักจะนูนขึ้น มีเมล็ดโตเรียงกันอยู่ เมล็ดไม่แก่หรืออ่อนเกินไป เมล็ดสีเขียว มีรสชาติหวานมัน

Be the first to comment

Leave a Reply